|
โฮโลแกรมฟิล์ม (Hologram Film)
เกิดจากการทำโฮโลแกรมลงบนพลาสติคฟิล์ม เช่น พีวีซี โอพีพี พีอีที พีเอส เอพีเอส และอื่นๆ หลังจากนั้นก็จะนำไปทรีตเม้นท์ (Corona coating) เพื่อให้ ผิวดูดซับหมึกได้ดีเมื่อต้องผ่านกระบวนการพิมพ์ ส่วนใหญ่แล้วใช้ในอุตสาหกรรม การพิมพ์และแพคเกตจิ้ง ซึ่งมีทั้งที่เป็นแบบสีเงิน(metallized) สีอื่นๆ หรือแบบใส (Transparent) |
|
|
|
โฮโลแกรมสติกเกอร์ (Hologram Adhisive)
เกิดจากการที่เราผลิตโฮโลแกรมฟิล์ม และนำไปเคลือบกาว (Glue coating) เพื้อตัดทำเป็นแผ่นหรือม้วน สำหรับนำไปพิมพ์หรือตัด โดยวัสดุฟิล์ม ผิวหน้ามักจะทำด้วย พีวีซี หรือพีอีที เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อหากเป็นพีอีที จะดีกว่า เนื่องจากมีอายุการใช้งานที่นานกว่า และความแวววาวจะมากกว่าพีวีซี |
|
|
โฮโลแกรมฟอล์ย ฮอทสแตมป์ (Hologram Hot stamping foil)
เกิดจากการทำโฮโลแกรมบนฟอล์ย เพื่อใช้ในการฮอทแสตมป์ เช่นเดียว กับฟอล์ยปั้มทั่วไป ด้านหลังแผ่นฟอล์ยจะมีกาวแห้ง (Dried Glue) เคลือบอยู่ เมื่อผ่านความร้อนในการกดทับ ก็จะเกิดโฮโลแกรมปั้มคิดอยู่กับชิ้นงาน เช่นใช้ใน การออกแบบบัตรสมาชิกต่าง ๆ หรือบัตรเชิญ หรือหนังสือ นิตยสารต่าง ๆ เพื่อ ความสวยงาม และดึงดูดใจมากขึ้น |
|
|
ผงโฮโลแกรม (Hologram glisting and powder)
เกิดจากกระบวนการผลิตโฮโลแกรมในอุตสหกรรม ซึ่งจะมีความสวยงาม ระยิบระยับ คล้ายกากเพชร ในรูปทรงและแบบต่างต่าง เพื่อนำไปใช้ใน อุตสหกรรมการผลิตของชำร่วย เครื่องประดับ และของเล่นสวยงาม และ การประดับตกแต่ง เป้นต้น |
|
|
|
โฮโลแกรม ฟิล์มเคลือบกันปลอม (Hologram security transparent)
เราได้ทำโฮโลแกรมลงบนพีอีทีแบบใส เพื่อใช้ในการเคลือบบัตรหรือ เอกสารสำคัญต่าง ๆ เพื่อป้องกันการปลอมแปลงจากคนอื่น รวมถึงยัง มีการผลิตแบบใสบนพลาสติค อื่นๆ เพื่อใช้ในการป้องกันรอยขูดลอก อีกด้วย พร้อมทั้งสามารถซ่อนรหัส หรือโค๊ดลับ ไว้ตรวจสอบได้อีกด้วย |
|
|
หีบห่อโฮโลแกรม (Hologram Packaging)
คือการนำโฮโลแกรมที่ผลิตบนพลาสติคหรือกระดาษ เอามาทำหีบห่อสินค้า เพื่อดู โดดเด่นสวยงาม ส่วนใหญ่จะเป็นพลาสติคชนิด โอพีพี หรือ ซีพีพี (OPP or CPP) เพราะมีต้นทุนที่ต่ำและไม่มีมลพิษ (Polution) จึงใส่อาหารบริโภคได้ ทั้งนี้อาจ เป็นการพิล์มแบบโรโตกราเวียร์หรือการพิมพ์ด้านกลับ (Reverse printing) ก่อน ที่จะนำมาเคลือบอีกครั้งหนึ่งแล้วขึ้นรูปเป็นหีบห่อ |
|
|
โฮโลแกรมสติกเกอร์กันปลอม (Hologram security label)
เป็นการผลิตโฮโลแกรมบนวัสดุพีอีที ตามแบบโฮโลแกรมต่าง ๆ เพื่อนำไป เคลือบกาวเป็นสติกเกอร์ โดยในกระบวนการผลิตได้ออกแบบที่ซับซ้อน และ ได้ทำฟิล์มให้มีคุณสมบัติพิเศษต่าง ๆ เช่นลอกแล้วทิ้งคราบไว้ หรือแบบเป็นรังผึ้ง หรือตัวอักษรต่าง ๆ เพื่อนำไปติดบนสินค้าหรือหีบห่อ รวมถึงบางครั้งก้ทำเป็นแบบ ปั้มร้อน เพื่อสแตมปฺไว้นสินค้าหรือหีบห่ออีกด้วยที่เราเห็นชัดเจนคือ บนบัตรเครดิต เป็นต้น |
|
|
|
โฮโลแกรมขูดลอก (Hologram Scratch security)
ใช้ในการซ่อนรหัส หรือบัตรต่างๆ ที่ต้องการใช้ลูกค้าหรือสมาชิกแกะเพื่อดูรหัส ข้างใน ซึ่งนอกจากจะเป็นการป้องกันการปลอมแปลงแล้ว ยังมีความสวยงามและ เป้นการนำโอโลแกรมมาใช้ประโยชน์มีอย่างหนึ่งของโลกปัจจุบัน |
|
|
|
อลูโฮโลแกรม (Aluminium Hologram security)
โดยการ embossed โฮโลแกรม บนอลุมิเนียม เพื่อใช้ในการ ป้องกันการปอมแปลงสินค้า เพื่อทำเป็นฝาขวด สำหรับน้ำมันหล่อลื่น หรือน้ำมันเครื่อง หรืออุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่ใช้ฝาอูมิเนียมนี้ อยู่ภายใน เพื่อฉีกขาดเปิดใช้งาน |
|
|
กระดาษโฮโลแกรม (Hologram paper)
เกิดจากการทำโฮโลแกรมโดยตรงลบนชั้นผิวของกระดาษ โดยทั่วไปโดย การ transfer แต่อีกิธีหนึ่งคือ การนำฟิมล์ที่ผลิตเป็นโฮแกรมแล้ว นำมาเคลือบ ติดกับกระดาษ โดยเราสังเกตุได้จากการลอกและฉีกขาด ถ้าเป็นวิธีหลัง จะไม่สามารถฉีกออกจากกันได้ จนกว่าจะทำให้ชั้นฟิมล์ขาด |
|
|
เราจะเห็นรูปนกอินทรี ที่เกิดจากการใช้โฮโลแกรม กันปลอมแบบฮอทสแตมป์ ปั้มด้วยความร้อนลงบัตรพลาสติค |
|
|
หีบห่อยารักษาโรค ซองยาที่นอกจากป้อกันความชื้นแล้ว เราสามารถผลิตโฮโลแกรมเป็นกันปลอม ก็เป็นเอกลักษณ์ อย่าหนึ่งที่สร้างความเชื่อถือให้กับสินค้าเช่นเดียกัน |
|
|
|
โฮโลแกรมลาเบล (Hologram label)
ตัวอย่างที่เห็นเราสามารถผลิตโฮแกรมลาเบลและ ประยุกต์ใช้กับสินค้า เช่น สายข้อมือนอกจากแสดง สีสันสะดุดตา และลักษณะเฉพาะแล้ว ยังป้องกันคนอื่น ทำลอกเลียนอีกด้วย |
|
|
โฮโลแกรมกันปลอม (security label)
เรานำโฮแกรมกันปลอมไปใช้กับสินค้า เพื่อป้องกัน การทำเลียนแบบ จะเห็นสติกเกอร์โฮโลแกรมอยู่ด้านใน ใต้ตัวเรือนนาฬิกาตามตัอย่างนี้ |
|
|
โฮโลแกรม ฮอทสแตมป์ (hot stamping)
เราผิตโฮโลแกรมฟอล์ย เพื่อใช้ในการปั้มร้อนบนพลาสติค เพื่อให้เกิดสีสันสวยงาม ในภาพนี้จะเห็นแถบสีรุ้งโฮโลแกรม ที่ช่วยให้ขวดสินค้าโดดเด่นและยังสามารถทำเป็นเอกลักษณ์ ป้องกันการปลอมแปลงได้อีกด้วย |
|
|
|
โฮโลแกรม พีอีที ฟิล์ม (Hologram PET Film)
เกิดจากการทำโฮโลแกรมลงบนพลาสติค พีอีทีฟิล์ม หลังจากนั้นก็จะนำไปทรีตเม้นท์ (Corona coating) เพื่อให้ ผิวดูดซับหมึกได้ดีเมื่อต้องผ่านกระบวนการพิมพ์ ส่วนใหญ่แล้วใช้ในอุตสาหกรรม การพิมพ์และแพคเกตจิ้ง ซึ่งมีทั้งที่เป็นแบบสีเงิน(metallized) สีอื่นๆ หรือแบบใส (Transparent) |
|
|
โฮโลแกรมลาเบล ฮอทสแตมป์ (Label hologram hot stamp)
เป็นโฮโลแกรมกันปลอมอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช้กัน ในอุตสหกรรม โดยการผลิตโฮโลแกรมฟอล์ย แล้วนำไปผ่านการปั้มด้วยความร้อน อีกครั้งบนฉลากหลังจากพิมพ์ก่อนการ ไดคัท นั่นเอง |
|
|
โฮโลแกรมลาเบล พิมพ์คาร์บอน (label hologram hot stamp)
เป็นโฮโลแกรมกันปลอม แบบฟอล์ยปั๊มร้อน ก่อนพิมพ์ และไดคัท โดยใช้กันสติกเกอร์แบบกระดาษ เพื่อให้สามารถพิมพ์คาร์บอนได้นั่นเอง |
|
|
|
|
|
สติกเกอร์โฮโลแกรมกันปลอม ที่ติดอยู่บนแบตเตอรี่มือถือ |
|
|
สติกเกอร์โฮโลแกรมใส ติดเพื่อป้องกันการปลอมแปลงสินค้า และป้องกันการเปิดสินค้าออก ก่อนถึงมือผู้ใช้ |
|
|
อุปกรณชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ ก็ได้รับความนิยมเช่นกันในการ ติดสติกเกอร์เพื่อป้องกันการปลอมแปลง |
|
|
สติกเกอเราใช้โฮโลแกรม CPP หรือ PET หรือ PVC ฟิมล์ที่ผ่านการทำโฮโลแกรม แล้วนำมาเคลืือบกระดาษเพื่อทำหีบห่อสินค้าตามรูป ร์โฮโลแกรมแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันอุปกรณ์มือถือ |
|
|
สติกเกอร์โฮโลแกรมที่ติดอยู่บนป้ายสินค้า ทำให้ดูมีระดับอีกด้วย เนื่องจากสินค้าดูน่าเชื่อถือ |